Human Rights Watch Press Release – Thailand: Migrant Children Locked Up

Thailand holds thousands of migrant children in detention each year, causing them physical and emotional harm, Human Rights Watch said in a report released today. Child migrants and asylum seekers are unnecessarily held in squalid immigration facilities and police lock-ups due to their immigration status or that of their parents.

The 67-page report, “‘Two Years with No Moon’: Immigration Detention of Children in Thailand,” details how Thailand’s use of immigration detention violates children’s rights, risks their health and wellbeing, and imperils their development. The Thai government should stop detaining children on immigration grounds, Human Rights Watch said.

“Migrant children detained in Thailand are suffering needlessly in filthy, overcrowded cells without adequate nutrition, education, or exercise space,” said Alice Farmer, children’s rights researcher at Human Rights Watch and author of the report. “Detention lockup is no place for migrant children.”

Human Rights Watch interviewed 41 migrant children and 64 adults who had been detained, arrested, or otherwise affected by interactions with police and immigration officials. In addition, Human Rights Watch interviewed representatives of international and nongovernmental organizations, migrant community leaders, and lawyers.

Immigration detention practices in Thailand violate the rights of both adults and children, Human Rights Watch said. Migrants are often detained indefinitely, and they lack reliable mechanisms to appeal their deprivation of liberty. Indefinite detention without recourse to judicial review amounts to arbitrary detention, which is prohibited under international law.

Prolonged detention deprives children of the capacity to grow and thrive mentally and physically. Yanaal L., a migrant detained with his family in Bangkok’s immigration detention center for six months, told Human Rights Watch: “My [five-year-old] nephew asked, ‘How long will I stay?’ He asked, ‘Will I live the rest of my life here?’ I didn’t know what to say.”

The International Organization for Migration reports that there are approximately 375,000 migrant children in Thailand, including children of migrant workers from neighboring countries, and children who are refugees and seeking asylum. The largest group of child refugees living in Thailand are from Burma, many of whom fled with their families from Burmese army attacks in ethnic minority areas, and from sectarian violence against Rohingya Muslims in Arakan State. Other refugees are from Pakistan, Sri Lanka, Somalia, Syria and elsewhere.

Migrants from the neighboring countries of Burma, Cambodia, and Laos tend to spend a few days or weeks in detention after they are arrested and then are taken to the border to be formally deported or otherwise released. However, refugee families from non-contiguous countries face the choice of remaining locked up indefinitely with their children, waiting for months or years for the slim chance of resettlement in a third country, or paying for their return to their own country, where they fear persecution. They are left to languish indefinitely in what effectively amounts to debtors’ prison.

Immigration detention conditions in Thailand imperil children’s physical health, Human Rights Watch found. The children rarely get the nutrition or exercise they need. Parents described having to pay exorbitant prices for supplemental food smuggled from the outside to try to provide for their children’s nutritional needs. Immigration detention also harms children’s mental health by exacerbating previous traumas and contributing to lasting depression and anxiety. By failing to provide adequate nutrition and opportunities for exercise and play, Thai immigration authorities are violating fundamental rights enumerated in the Convention on the Rights of the Child, which Thailand has ratified.

Children in immigration detention in Thailand are routinely held with unrelated adults in violation of international law. They are regularly exposed to violence, and can get caught up in fights between detainees, use of force by guards, and sometime get physically hurt.

Severe overcrowding is a chronic problem in many of Thailand’s immigration detention centers. Children are crammed into packed cells, with poor ventilation and limited or no access to space for recreation. Human Rights Watch interviewed several children who described being confined in cells so crowded they had to sleep sitting up. Even where children have room to lie down, they routinely reported sleeping on tile or wood floors, without mattresses or blankets, surrounded by strange adults.

“The worst part was that you were trapped and stuck,” said Cindy Y., a migrant child held from ages 9 to 12. “I would look outside and see people walking around the neighborhood, and I would hope that would be me.”

None of the children Human Rights Watch interviewed received formal education while in detention, even those held for many months. By denying migrant or asylum-seeking children adequate education, Thai immigration authorities are depriving children of social and intellectual development. The Convention on the Rights of the Child says that all children have the right to education without discrimination on the basis of nationality or migrant status.

Under Thai law, all migrants with irregular immigration status, even children, can be arrested and detained. In 2013, the United Nations Committee on the Rights of the Child, the body of independent experts charged with interpreting the Convention on the Rights of the Child, has directed governments to “expeditiously and completely cease the detention of children on the basis of their immigration status,” asserting that such detention is never in the child’s best interest.

“Amid the current human rights crisis in Thailand, it is easy to ignore the plight of migrant children,” Farmer said. “But Thai authorities need to address this problem because it won’t just disappear on its own.”

Besides ending the detention of migrant children, Thailand should immediately adopt alternatives to detention that are being used effectively in other countries, such as open reception centers and conditional release programs. Such programs are cheaper than detention, respect children’s rights, and protect their future, Human Rights Watch said.

In an August 14, 2014 response to a letter from Human Rights Watch sending out findings and recommendations, the Thai Ministry of Foreign Affairs denied that the detention of migrants was carried out in an arbitrary manner, and stated: “Detention of some small number of migrant children in Thailand is not a result of the Government’s policies but rather the preference of their migrant parents themselves (family unity) and the logistical difficulties.” The government’s seven-page response is included in the report’s annex.

Thailand faces numerous migration challenges posed by its location and relative prosperity, and is entitled to control its borders, Human Rights Watch said. But it should do so in a way that upholds basic human rights, including the right to freedom from arbitrary detention, the right to family unity, and international minimum standards for conditions of detention.

“Thailand’s immigration detention policies make a mockery of government claims to protect children precisely because they put children at unnecessary risk,” Farmer said. “The sad thing is it’s been known for years that these poor detention conditions fall far short of international standards but the Thai government has done little or nothing to address them.”

FULL REPORT HERE

 

ห้ามเผยแพร่และจัดพิมพ์จนกว่า:

เวลา 10.31 น. วันอังคารที่ 2 กันยายน 2557 ตามเวลากรุงเทพมหานคร

เวลา 03.31 น. วันที่ 2 กันยายน 2557 ตามเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT)

ประเทศไทย : เด็กย้ายถิ่นถูกกักขัง

เด็กนับพันถูกกักขังในสถานกักตัวคนต่างด้าวของงานตรวจคนเข้าเมือง

(กรุงเทพ 2 กันยายน 2557) ประเทศไทยกักขังเด็กย้ายถิ่นจานวนนับพันในแต่ละปี ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อ

ทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก ฮิวแมนไรท์วอทช์แถลงในรายงานที่เผยแพร่ในวันนี้ เด็กย้ายถิ่นและเด็กผู้

แสวงหาที่พักพิงถูกกักตัวไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าวของงานตรวจคนเข้าเมืองและห้องขังของตารวจที่

สกปรกซอมซ่อโดยไม่มีความจาเป็น สาเหตุมาจากสถานภาพการเข้าเมืองของเด็กหรือของบิดามารดา

รายงานจานวน 67 หน้า เรื่อง “สองปีที่ไร้จันทร์ การกักตัวเด็กในสถานกักตัวของงานตรวจคนเข้าเมืองใน

ประเทศไทย” นาเสนอรายละเอียดว่า การกักตัวเด็กในสถานกักตัวคนต่างด้าวของประเทศไทยเป็นการ

ละเมิดสิทธิเด็ก เกิดความเสี่ยงต่อทั้งสุขภาพและสุขภาวะและเป็นอันตรายต่อการพัฒนาการของเด็กอย่างไร

รัฐบาลไทยควรยุติการกักขังเด็กโดยใช้เหตุผลด้านการเข้าเมือง ฮิวแมนไรท์วอทช์กล่าว

“เด็กย้ายถิ่นที่ถูกกักขังในประเทศไทยต้องได้รับความทุกข์ยากอย่างไม่สมควรเกิดขึ้น อยู่ในที่กักขังที่แออัด

และแสนสกปรก ขาดอาหารตามหลักโภชนาการ การศึกษา และสถานที่เพื่อการออกกาลังกายที่พอเพียง”

อลิซ ฟาร์เมอร์ นักวิจัยด้านสิทธิเด็กของ ฮิวแมนไรท์วอทช์และผู้เขียนรายงานฉบับนี้กล่าว “สถานที่กักกัน

ตัวไม่ใช่ที่สาหรับเด็กย้ายถิ่น”

ฮิวแมนไรท์วอทช์ สัมภาษณ์เด็กย้ายถิ่น 41 คน และผู้ใหญ่ 64 คน ซึ่งถูกกักขัง จับกุม หรือได้รับผลกระทบ

จากการมีปฏิกิริยาต่อกันกับตารวจหรือเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง นอกจากนี้ ฮิวแมนไรท์วอทช์ได้สัมภาษณ์

ผู้แทนองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรพัฒนาเอกชน ผู้นาชุมชนผู้ย้ายถิ่นฐานและนักกฎหมายด้วย

การดาเนินงานการกักตัวคนเข้าเมืองในประเทศไทยเป็นการกระทาที่ละเมิดสิทธิทั้งของผู้ใหญ่และเด็ก

ฮิวแมนไรท์วอทช์กล่าว ผู้ย้ายถิ่นฐานมักถูกกักขังอย่างไม่มีกาหนด และขาดกลไกที่พึ่งพาได้เพื่ออุทธรณ์ต่อ

การถูกลิดรอนเสรีภาพ การกักขังอย่างไม่มีกาหนดและโดยปราศจากช่องทางในการร้องขอให้มีการ

พิจารณาตามกระบวนการยุติธรรม คือการกักขังตามอาเภอใจซึ่งขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ

การกักขังอันยาวนานเป็นการบั่นทอนศักยภาพการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทั้งทางร่างกายและ

จิตใจ ยานาอัล แอล. ผู้ย้ายถิ่นที่ถูกกักขังร่วมกับครอบครัวนานหกเดือน ในสถานกักตัวคนต่างด้าว

สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กรุงเทพมหานครบอกกับฮิวแมนไรท์วอทช์ว่า “หลานชาย (วัยห้าปี) ถามผมว่า

‘หนูต้องอยู่ในนี้นานแค่ไหน ต้องอยู่จนตายไหม’ ผมไม่รู้จะพูดอะไร”

องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM) รายงานว่า มีเด็กย้ายถิ่นราว 375,000 คนในประเทศ

ไทย เป็นเด็กที่เป็นบุตรของแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน เด็กที่เป็นผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิง

ในกลุ่มเด็กลี้ภัยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยนั้น มีเด็กจากพม่ามากที่สุดซึ่งมีจานวนมากลี้ภัยมาพร้อมกับ

ครอบครัว เพื่อหลบหนีจากการโจมตีของกองทัพพม่าในดินแดนกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์ และจาก

การกระทารุนแรงต่อชาวมุสลิมโรฮิงญาที่มีผลมาจากความเชื่อทางลัทธิศาสนาในรัฐอะรากัน เด็กลี้ภัยอื่นๆ

มาจากประเทศปากีสถาน ศรีลังกา โซมาเลีย ซีเรียและที่อื่นๆ

ผู้ย้ายถิ่นจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่นจากพม่า กัมพูชา และลาว มีแนวโน้มที่จะถูกควบคุมตัวไว้ในสถานกัก

ตัวเพียงไม่กี่วันหรือกี่สัปดาห์หลังจากที่ถูกจับกุม หลังจากนั้นจะถูกนาตัวไปที่ชายแดนเพื่อส่งกลับอย่างเป็น

ทางการหรือปล่อยตัว แต่อย่างไรก็ตาม สาหรับครอบครัวผู้ลี้ภัยจากประเทศที่ไม่มีพรมแดนติดกับประเทศ

ไทย ต้องเผชิญกับทางเลือกระหว่างการถูกกักขังกับลูกอย่างไม่มีกาหนด เพื่อรอคอยเป็นเดือนเป็นปีเพื่อ

โอกาสอันน้อยนิดในการไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม หรือจ่ายค่าเดินทางกลับประเทศตนพร้อมด้วยความ

หวาดกลัวต่อการถูกดาเนินคดี คนเหล่านั้นถูกกักขังอย่างไม่มีกาหนดในสถานที่ที่เห็นได้ชัดว่ากลายเป็นที่คุม

ขังลูกหนี้

ฮิวแมนไรท์วอทช์พบว่า สภาพสถานกักตัวคนต่างด้าวในประเทศไทย เป็นผลร้ายต่อสุขภาพกายของเด็ก

เด็กแทบจะไม่ได้รับอาหารตามหลักโภชนาการและการออกกาลังกายที่จาเป็นสาหรับเด็ก พ่อแม่ของเด็กเล่า

ว่าจาเป็นต้องจ่ายค่าอาหารเสริมที่มีการลักลอบนาเข้ามาด้วยราคาสูงมากเพื่อให้ลูกได้รับอาหารตามความ

จาเป็นทางด้านโภชนาการ ยิ่งกว่านั้นสภาพในสถานกักตัวคนต่างด้าวยังเป็นอันตรายต่อสุขภาพจิตของเด็ก

โดยเป็นการตอกย้าความบอบช้าทางจิตใจที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้และทาให้เกิดความหดหู่และความวิตก

กังวลตลอดไป การที่เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองของไทยไม่สามารถจัดหาอาหารตามหลักโภชนาการและ

โอกาสในการออกกาลังกายและเล่นแก่เด็กได้อย่างพอเพียง ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก

ตามที่ระบุไว้ในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน

เด็กที่ถูกกักตัวอยู่ในสถานกักตัวคนต่างด้าวของประเทศไทย ต้องอยู่รวมกับผู้ใหญ่ที่ไม่ใช่เครือญาติอย่างเป็น

เรื่องปกติ ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ เด็กต้องเผชิญกับความรุนแรงเป็นประจาและไป

เกี่ยวข้องกับการต่อสู้กันระหว่างผู้ถูกกักขัง ถูกผู้คุมใช้กาลังบังคับและบางครั้งได้รับบาดเจ็บทางร่างกาย

ความแออัดยัดเยียดอย่างรุนแรงเป็นปัญหาเรื้อรังของสถานกักตัวคนต่างด้าวของงานตรวจคนเข้าเมืองใน

ประเทศไทย เด็กถูกจับอัดเข้าไปอยู่ในที่คับแคบ มีการระบายอากาศไม่เพียงพอ และมีพื้นที่เพื่อการ

สันทนาการเพียงจากัดหรือไม่มีเลย เด็กหลายคนที่ให้สัมภาษณ์กับฮิวแมนไรท์วอทช์เล่าว่า เขาต้องอยู่ใน

ห้องกักขังที่แออัดยัดเยียดมากจนต้องนั่งหลับ หรือแม้จะมีที่ให้นอนลงได้บ้าง เด็กบอกประจาว่าก็ต้องนอน

บนพื้นกระเบื้องหรือพื้นไม้โดยไม่มีที่นอนหรือผ้าห่ม ท่ามกลางผู้ใหญ่แปลกหน้า

“ที่ร้ายที่สุดคือ หนูถูกดักจับและถูกกักอยู่แบบนั้น” ซินดี วาย. เด็กย้ายถิ่นผู้ถูกกักตัวอยู่ตั้งแต่อายุ 9 ปี จนถึง

12 ปี เล่า “หนูได้แต่มองดูคนเดินไปเดินมาอยู่บริเวณใกล้เคียงข้างนอกและหนูหวังอยากให้ตัวเองได้ออกไป

เดินอย่างนั้นบ้าง”

ไม่มีเด็กที่ฮิวแมนไรท์วอทช์สัมภาษณ์ได้รับการศึกษาในระบบขณะที่ถูกกักขัง แม้กระทั่งเด็กที่ต้องถูกกัก

เป็นเวลาหลายเดือน การที่เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองของไทยไม่จัดการให้เด็กย้ายถิ่นหรือเด็กผู้แสวงที่พัก

พิงได้รับการศึกษาอย่างพอเพียง ถือได้ว่าเป็นการทาให้เด็กขาดโอกาสในการพัฒนาการทางสังคมและ

สติปัญญา อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กได้ระบุว่าเด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษาโดยปราศจากการเลือก

ปฏิบัติบนพื้นฐานของสัญชาติหรือสถานภาพการเข้าเมือง

กฏหมายไทยอนุญาตให้มีการจับกุมและกักขังบุคคลต่างด้าวผู้เข้าเมืองมาด้วยสถานะไม่ปกติทุกคน รวมทั้ง

เด็ก ในปี พ.ศ. 2556 คณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่ประกอบด้วย

ผู้เชี่ยวชาญอิสระ มีหน้าที่ตีความอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก มีคาสั่งให้รัฐบาลของรัฐภาคี “ยุติการกักขังเด็ก

บนพื้นฐานของสถานภาพการเข้าเมืองของเด็กโดยสิ้นเชิงและโดยทันที” พร้อมยืนยันว่าการนาตัวเด็กไป

กักขังไว้เช่นนั้นไม่เคยปรากฎว่าเป็นการกระทาที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อเด็กแต่อย่างใด

“ท่ามกลางวิกฤติเรื่องสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันในประเทศไทย มันเป็นเรื่องง่ายที่จะมองข้ามชะตากรรมของ

เด็กย้ายถิ่น” อลิซ ฟาร์เมอร์กล่าว “แต่เจ้าหน้าที่ไทยจาเป็นต้องแก้ปัญหานี้ เพราะไม่มีทางที่ปัญหาจะหมดไป

เอง”

นอกจากจะต้องยุติการกักขังเด็กย้ายถิ่นแล้ว ประเทศไทยควรใช้วิธีทางเลือกอื่นแทนการกักขังโดยทันที ซึ่ง

มีการใช้ได้อย่างมีประสิทธิผลในประเทศอื่นๆ เช่นศูนย์แรกรับแบบเปิดและโครงการปล่อยตัวโดยมีเงื่อนไข

ซึ่งโครงการเหล่านั้นมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการกักขัง เคารพต่อสิทธิเด็กและคุ้มครองอนาคตของเด็กด้วย

ฮิวแมนไรท์วอทช์แถลง

เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2557 กระทรวงการต่างประเทศได้ตอบจดหมายจากฮิวแมนไรท์วอทช์ที่ส่งไปพร้อม

กับข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ โดยปฏิเสธว่าการกักตัวผู้ย้ายถิ่นมิได้เป็นกระทาอย่างตามอาเภอใจ พร้อมทั้ง

แถลงว่า “การกักขังเด็กย้ายถิ่นจานวนน้อยในประเทศไทย ไม่ใช่เป็นผลมาจากนโยบายของรัฐบาล หากแต่

เป็นความต้องการของผู้เป็นบิดามารดาของเด็ก (การอยู่รวมกันเป็นครอบครัว) และความยากลาบากในการ

ดาเนินงานจัดการ” คาชี้แจงจานวนเจ็ดหน้าจากรัฐบาล รวมอยู่ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี้

ประเทศไทยเผชิญปัญหาและความท้าทายเรื่องประเด็นการโยกย้ายถิ่นฐานนานาประการ เนื่องมาจาก

ตาแหน่งที่ตั้งและความอุดมสมบูรณ์พอสมควรของประเทศ ประเทศไทยมีสิทธิที่จะควบคุมพรมแดนของ

ประเทศ ฮิวแมนไรท์วอทช์แถลง แต่ประเทศไทยควรดาเนินการด้วยความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนขั้น

พื้นฐานรวมทั้งอิสรภาพจากการถูกกักขังตามอาเภอใจ สิทธิในการอยู่รวมกันเป็นครอบครัว ตลอดจนสิทธิ

ขั้นต่าตามมาตรฐานสากลว่าด้วยสภาพการกักขัง

“นโยบายการกักตัวคนเข้าเมืองของประเทศไทย ทาให้คากล่าวอ้างเรื่องการให้ความคุ้มครองเด็กของรัฐบาล

หมดความน่าเชื่อถืออย่างแท้จริง เนื่องจากรัฐบาลทาให้เด็กตกอยู่ในภาวะเสี่ยงโดยไม่สมควร” ฟาร์เมอร์

กล่าว “เรื่องที่น่าเศร้าคือเป็นที่รู้กันมานานนับปีว่าสถานที่กักขังเหล่านี้มีสภาพย่าแย่และต่ากว่า

มาตรฐานสากลอย่างมาก แต่รัฐบาลไทยมีการดาเนินงานเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้”

บทสรุปและข้อเสนอแนะ [ภาษาไทย]

 

By: Human Rights Watch